หมอก คืออะไร
เกิดขึ้นได้อย่างไร
มีอันตรายต่อการบินอย่างไร
หมอก (Fog) - FG เป็นน้ำในอากาศหรือไฮโดรมีทีเออร์ ( hydrometeor) ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยกลุ่มละอองน้ำขนาดเล็กมากสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าลอยอยู่ในอากาศใกล้พื้นดิน โดยปกติจะทำให้ทัศนวิสัยทางแนวนอนที่ผิวพื้นโลกลดลงเหลือน้อยกว่า 1 , 000 เมตร
ถ้าทัศนวิสัยมากกว่า 1 , 000 เมตร เรียกว่า หมอกบางหรือหมอกน้ำค้าง ( mist)
หมอกกับเมฆต่างกันแต่เพียงว่า หมอกนั้นมีฐานอยู่ติดกับพื้นดิน ส่วนเมฆจะมีฐานสูงเหนือพื้นดินขึ้นไป
โดยทั่วไปขณะเกิดหมอกทัศนะวิสัยจะต่ำกว่า 1 กิโลเมตร หมอกจึงเป็นปรากฎการณ์ที่เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการบิน เพราะทัศนะวิสัยมีความสำคัญต่อการบินมาก แม้ว่าในปัจจุบันเครื่องบินจะมีสมรรถนะในการบินขึ้น-ลงสนามบินได้เกือบทุกสภาวะอากาศก็ตาม แต่นักบินก็จะต้องมองเห็นทางวิ่งของสนามบิน ในกรณีที่มีหมอกปกคลุมสนามบิน สภาพอากาศขณะนั้นแจ่มใสไม่มีเมฆ ขณะทำการบินที่ตำแหน่งเครื่องบินพอเหมาะ นักบินสามารถมองเห็นสนามบินเบื้องล่างชัดเจน แต่เมื่อลดระดับลงมาอยู่ในชั้นของหมอก นักบินอาจมองไม่เห็นสนามบินเลย ทั้งนี้เพราะหมอกเกิดปกคลุมสนามบินไม่สูงจากพื้นดินมากนัก จะปกคลุมหนาทึบบริเวณใกล้พื้นดิน ปรากฎการณ์เช่นนี้มีความสำคัญมาก นักบินจะต้องคำนึงถึงให้มากเพราะเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุเครื่องบินตกมามากแล้ว
หมอกน้ำค้าง (Mist) - BR เป็นน้ำในอากาศหรือไฮโดรมีทิเออร์ ( hydrometeor) ซึ่งประกอบด้วยละอองน้ำ เล็กมากจนไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือละอองน้ำดูดความชื้น ( hydroscopic water droplets) ลอยอยู่ในอากาศ หมอกน้ำค้างมีลักษณะเช่นเดียวกับหมอกแต่บางกว่า เมื่อมีหมอกน้ำค้างเกิดขึ้นเหนือที่ใดมักจะแลดูคล้ายม่านบางสีเทาคลุมอยู่เหนือภูมิประเทศแห่งนั้น ทำให้ทัศนวิสัยที่ผิวพื้นโลกลดลงน้อยกว่าหมอก แต่ยังเห็นได้ไกลเกินกว่า 1 กม. ความชื้นสัมพัทธ์ในหมอกน้ำค้างมักจะน้อยกว่า 95% หมอกน้ำค้างเป็นสภาพอากาศที่อยู่ระหว่างฟ้าหลัวชื้น ( damp haze) กับหมอก
หมอกเป็นหย่อม (Fog patches) - BCFG เป็นหมอกซึ่งกระจายออกเป็นแนวไม่สม่ำเสมอกัน เป็นหย่อมๆ 4. อัตราส่วนผสมของอากาศจะต้องคงที่หรือเพิ่มขึ้น (Constant or Mixing ratio) 5. อากาศมีการทรงตัวดี (Stable air) และมี inversion ที่ระดับต่ำ การ
พยากรณ์หมอกสลายตัว : หมอกจะสลายตัวมีหลักสังเกตดังนี้
1. เมื่อมีความร้อนเกิดขึ้น เช่น ดวงอาทิตย์ส่องในตอนเช้า หมอกเมื่อได้รับความร้อนก็จะยกตัวกลายเป็นเมฆหรือระเหยกลายเป็นไอหมด
2. เมื่อลมมีกำลังแรงขึ้น หมอกจะสลายตัวได้เร็วชึ้น
3. เมื่อมีเมฆปกคลุมท้องฟ้ามากชึ้นจะทำให้หมอกสลายตียิ่งขึ้น การกำจัดหมอก การกำจัดหรือลดปริมาณหมอกลงในบริเวณพื้นที่จำกัดพื้นที่หนึ่ง โดยการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติหรือโดยการกระทำของมนุษย์ หมอกซึ่งเย็นจัดต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ( Supercooled Fog) สามารถทำให้สลายตัวไปได้โดยการหว่านน้ำแข็งแห้งหรือซิลเวอร์ไอโอไดด์ ( dry ice or silver iodide) เข้าไปในหมอก
ส่วนหมอกอุ่น ( warm fog) สามารถกำจัดได้โดยวิธี FIDO(Fog Investigation Dispersal Operations) เป็นวิธีกำจัดหมอกซึ่งอังกฤษเป็นผู้ค้นคิดขึ้นในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเผาน้ำมันเบนซิน ( gasoline) หรือเชื้อเพลิงอื่นๆ ให้เป็นแนวไปตามข้าง ๆ ทางวิ่งของสนามบิน ( airfield runway) หมอกบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ
ข้อมูลจากวิกิพีเดีย
เรียบเรียงโดย menmen
เกิดขึ้นได้อย่างไร
มีอันตรายต่อการบินอย่างไร
หมอก (Fog) - FG เป็นน้ำในอากาศหรือไฮโดรมีทีเออร์ ( hydrometeor) ชนิดหนึ่งที่ประกอบด้วยกลุ่มละอองน้ำขนาดเล็กมากสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าลอยอยู่ในอากาศใกล้พื้นดิน โดยปกติจะทำให้ทัศนวิสัยทางแนวนอนที่ผิวพื้นโลกลดลงเหลือน้อยกว่า 1 , 000 เมตร
ถ้าทัศนวิสัยมากกว่า 1 , 000 เมตร เรียกว่า หมอกบางหรือหมอกน้ำค้าง ( mist)
หมอกกับเมฆต่างกันแต่เพียงว่า หมอกนั้นมีฐานอยู่ติดกับพื้นดิน ส่วนเมฆจะมีฐานสูงเหนือพื้นดินขึ้นไป
โดยทั่วไปขณะเกิดหมอกทัศนะวิสัยจะต่ำกว่า 1 กิโลเมตร หมอกจึงเป็นปรากฎการณ์ที่เป็นอันตรายอย่างยิ่งต่อการบิน เพราะทัศนะวิสัยมีความสำคัญต่อการบินมาก แม้ว่าในปัจจุบันเครื่องบินจะมีสมรรถนะในการบินขึ้น-ลงสนามบินได้เกือบทุกสภาวะอากาศก็ตาม แต่นักบินก็จะต้องมองเห็นทางวิ่งของสนามบิน ในกรณีที่มีหมอกปกคลุมสนามบิน สภาพอากาศขณะนั้นแจ่มใสไม่มีเมฆ ขณะทำการบินที่ตำแหน่งเครื่องบินพอเหมาะ นักบินสามารถมองเห็นสนามบินเบื้องล่างชัดเจน แต่เมื่อลดระดับลงมาอยู่ในชั้นของหมอก นักบินอาจมองไม่เห็นสนามบินเลย ทั้งนี้เพราะหมอกเกิดปกคลุมสนามบินไม่สูงจากพื้นดินมากนัก จะปกคลุมหนาทึบบริเวณใกล้พื้นดิน ปรากฎการณ์เช่นนี้มีความสำคัญมาก นักบินจะต้องคำนึงถึงให้มากเพราะเป็นสาเหตุของอุบัติเหตุเครื่องบินตกมามากแล้ว
หมอกน้ำค้าง (Mist) - BR เป็นน้ำในอากาศหรือไฮโดรมีทิเออร์ ( hydrometeor) ซึ่งประกอบด้วยละอองน้ำ เล็กมากจนไม่สามารถเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือละอองน้ำดูดความชื้น ( hydroscopic water droplets) ลอยอยู่ในอากาศ หมอกน้ำค้างมีลักษณะเช่นเดียวกับหมอกแต่บางกว่า เมื่อมีหมอกน้ำค้างเกิดขึ้นเหนือที่ใดมักจะแลดูคล้ายม่านบางสีเทาคลุมอยู่เหนือภูมิประเทศแห่งนั้น ทำให้ทัศนวิสัยที่ผิวพื้นโลกลดลงน้อยกว่าหมอก แต่ยังเห็นได้ไกลเกินกว่า 1 กม. ความชื้นสัมพัทธ์ในหมอกน้ำค้างมักจะน้อยกว่า 95% หมอกน้ำค้างเป็นสภาพอากาศที่อยู่ระหว่างฟ้าหลัวชื้น ( damp haze) กับหมอก
หมอกเป็นหย่อม (Fog patches) - BCFG เป็นหมอกซึ่งกระจายออกเป็นแนวไม่สม่ำเสมอกัน เป็นหย่อมๆ 4. อัตราส่วนผสมของอากาศจะต้องคงที่หรือเพิ่มขึ้น (Constant or Mixing ratio) 5. อากาศมีการทรงตัวดี (Stable air) และมี inversion ที่ระดับต่ำ การ
พยากรณ์หมอกสลายตัว : หมอกจะสลายตัวมีหลักสังเกตดังนี้
1. เมื่อมีความร้อนเกิดขึ้น เช่น ดวงอาทิตย์ส่องในตอนเช้า หมอกเมื่อได้รับความร้อนก็จะยกตัวกลายเป็นเมฆหรือระเหยกลายเป็นไอหมด
2. เมื่อลมมีกำลังแรงขึ้น หมอกจะสลายตัวได้เร็วชึ้น
3. เมื่อมีเมฆปกคลุมท้องฟ้ามากชึ้นจะทำให้หมอกสลายตียิ่งขึ้น การกำจัดหมอก การกำจัดหรือลดปริมาณหมอกลงในบริเวณพื้นที่จำกัดพื้นที่หนึ่ง โดยการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติหรือโดยการกระทำของมนุษย์ หมอกซึ่งเย็นจัดต่ำกว่าจุดเยือกแข็ง ( Supercooled Fog) สามารถทำให้สลายตัวไปได้โดยการหว่านน้ำแข็งแห้งหรือซิลเวอร์ไอโอไดด์ ( dry ice or silver iodide) เข้าไปในหมอก
ส่วนหมอกอุ่น ( warm fog) สามารถกำจัดได้โดยวิธี FIDO(Fog Investigation Dispersal Operations) เป็นวิธีกำจัดหมอกซึ่งอังกฤษเป็นผู้ค้นคิดขึ้นในระหว่างสงครามโลกครั้งที่สอง โดยเผาน้ำมันเบนซิน ( gasoline) หรือเชื้อเพลิงอื่นๆ ให้เป็นแนวไปตามข้าง ๆ ทางวิ่งของสนามบิน ( airfield runway) หมอกบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ
ข้อมูลจากวิกิพีเดีย
เรียบเรียงโดย menmen